วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558

กฎหมาย


ความหมายของกฎหมาย

     
    ในฐานะที่เราเป็นพลเมืองของประเทศชาติ ถือเป็นสมาชิกของสังคม มีความจำเป็นต้องเรียนรู้กฏหมาย ก็เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม  อ่านเพิ่มเติม

สถาบันเศรษฐกิจ

สถาบันเศรษฐกิจ (Economic Institutions)

สถาบันทางเศรษฐกิจ มีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์อย่างยิ่ง เพราะความต้องการทางเศรษฐกิจเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้ และความต้องการของมนุษย์บางครั้งก็ไม่มีของเขต ซึ่งจากการศึกษาประวัติศาสตร์จะเห็นได้ว่า มนุษย์ได้มีการต่อสู้ทางเศรษฐกิจมานาน อ่านเพิ่มเติม

สถาบันครอบครัว



    ความหมายของครอบครัว

    ครอบครัว หมายถึง การอยู่ร่วมกันของกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิก ซึ่งมีความสัมพันธ์กันผูกพันกัน เช่น ความสัมพันธ์ทางสายเลือด หรือการรับเป็นบุตรบุญธรรม อ่านเพิ่มเติม

สถาบันทางสังคม


สถาบันทางสังคม

3. สถาบันทางสังคม
            เมื่อคนมาอาศัยอยู่รวมกันและสร้างความสัมพันธ์ขึ้นระหว่างกัน ความสัมพันธ์เหล่านั้นจะเชื่อโยงกันไปมาเสมือนเป็นแบบแผนที่มั่นคง  หากจัดแบ่งความสัมพันธ์เหล่านี้ออกเป็นเรื่องๆ 

วันจันทร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558

การเปลี่ยนแปลง อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

 วัฒนธรรม   หมายถึง   สิ่งที่คนไทยกำหนดสร้างขึ้น มีการเรียนรู้สืบต่อกันมามีลักษณะที่แสดงออกถึงความงอกงาม  ความเป็นระเบียบร้อย  ความกลมเกลียว  ตลอดจนการมีศีลธรรมอันดีของสมาชิกไทย  เช่น  การใช้ภาษาไทย  การรู้จักเคารพผู้อาวุโส การไหว้ ศิลปกรรม  แบบไทย  อาหารไทย รวมทั้งการแต่งกายที่สุภาพเรียบร้อย ถูกต้องตามกาลเทศะเหมาะสมตาฐานะและวัย
วัฒนธรรมมีความสำคัญต่อคนไทยและสังคมไทยหลายประการ  ดังนี้1.  เป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญและเชิดชูเกียรติของบุคคลและประเทศชาติ
2.  เป็นเครื่องที่แสดงถึงบุคลิกลักษณะประจำชาติและดำรงความเป็นชาติไทย
3.  เป็นเครื่องกล่อมเกลาจิตใจมนุษย์ให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข
4.  เป็นเครื่องช่วยให้คนไทยภูมิใจในชาติไทย
5.  เป็นเครื่องช่วยในการสร้างสัมพันธ์กับนานาชาติ  โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม อ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย

ความหมายวัฒนธรรมไทย
คำว่า วัฒนธรรม มาจากคำว่า “Culture” ในภาษาอังกฤษ ซึ้งคำนนี้มีรากศัพท์มาจาก “Cultura” ในภาษาละติน มีความหมายว่า การเพาะปลูกและบำรุงให้เจริญงอกงาม คำว่า “วัฒนธรรม” ในภาษาไทย เป็นคำที่ได้มาจากการรวมคำ 2 คำ เข้าด้วยกัน คือ คำว่า “วัฒนะ” หมายถึง ความเจริญงอกงาม รุ่งเรือง และ คำว่า “ธรรม” หมายถึง การกระทำหรือข้อปฎิบัติ เมื่อรวมกันแล้ว วัฒนธรรมตามความหมายของคำในภาาาไทยจึงหมายถึงข้อปฎิบัติเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม อ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี  อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไข

.ปัญหาสังคมไทยและแนวทางการแก้ไข
                แม้ว่าสังคมจะมีความร่วมมือปรับเปลี่ยนและแก้ไข เพื่อให้ได้กลไกทางสังคมดำเนินไปอย่างราบรื่น แต่บางครั้งบางกรณีอาจเกิดปัญหาหรือข้อขัดแย้งขึ้นทั้งที่เป็นผลมาจากปัจจัยภายในและจากปัจจัยภายนอกของสังคม ซึ่งส่งผลให้การทำงานของกลไกทางสังคมไม่เป็นปกติและกลายเป็นปัญหาสังคมขึ้นมา อ่านเพิ่มเติม

ลักษณะสังคมไทย

ลักษณะสังคมไทย
ประเทศไทย เป็นชาติที่มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ลักษณะของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่างๆ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามยังมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยอยู่ สรุปได้ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม

การขัดเกลาทางสังคม

      คำที่มักใช้ในความหมายเดียวกัน คือ สังคมกรณ์สังคมประกิต, การอบรมเรียนรู้ทางสังคม, การทำให้เหมาะสมแก่สังคม
คำจำกัดความ          เป็นกระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยา ซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคม
ต้องการ เด็กที่เกิดมาจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนให้เป็นสมาชิกที่สมบูรณ์ของสังคม สามารถอยู่
ร่วมและมีความสัมพันธ์กับคนอื่นได้อย่างราบรื่น ทำ ให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติเป็น
มนุษย์ผู้มีวัฒนธรรม มีสภาพต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่น
อ่านเพิ่มเติม

การจัดระเบียบทางสังคม

หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่คอยควบคุมความประพฤติของบุคคลในสังคมให้อยู่ใน ระเบียบ กฎเกณฑ์ ที่สังคมกำหนดไว้เพื่อให้สังคมมีระเบียบและดำรงอยู่ได้ การจัดระเบียบทางสังคมเป็นกระบวนการที่มีขอบเขตกว้างขวางครอบคลุม ปรากฏการณ์ห้สังคมมีระเบียบและดำรงอยู่ได้ การจัดระเบียบทางสังคการจัดระเบียบทางสังคม 

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม
อ่านเพิ่มเติม

อ่า

โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

บทที่ 2 โครงสร้างทางสังคมและลักษณะของสังคมไทย

สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่องของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย ในแง่ของผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคม